ไทย / Eng
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
updated: 24 December, 2014 16:59
หน้าแรก ความเข้าใจในโครงการ ความต้องการด้านที่อยู่อาศัย การเสริมสร้างสมรรถนะ วิสัยทัศน์ โครงการนำร่อง ติดต่อ
 
ความเข้าใจในโครงการ
- หลักการและเหตุผล
- เป้าประสงค์และวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน
- ขอบเขตการดำเนินงาน
- ขั้นตอนกระบวนการดำเนินงาน
- ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 
เครือข่ายทางสังคม
ความต้องการด้านที่อยู่อาศัย
- ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยจังหวัดบึงกาฬ
การเสริมสร้างสมรรถนะ
- การประชุมประชาคม ครั้งที่ 1-3
- การทัศนศึกษาดูงาน ครั้งที่ 1-3
- การประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1-2
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาที่อยู่อาศัย
- วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาที่อยู่อาศัย
โครงการนำร่อง
- โครงการนำร่องระดับเมือง
- โครงการนำร่องระดับชุมชน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ความเข้าใจในโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) องค์กรปกครอส่วนท้องถิ่นและชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย มีแนวทางป้องกัน/แก้ไขปัญหา และพัฒนาพื้นที่อยู่อาศัย ที่สอดคล้องกับสถานการณ์และความต้องการ
 
2) บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการวางแผนป้องกัน/ แก้ไขปัญหาและพัฒนาที่อยู่อาศัย
 
3) เกิดกลไกและ/หรือเครือข่ายความร่วมมือในกระบวนการป้องกัน/แ้ก้ไขปัญหาและพัฒนาที่อยู่อาศัย
 
4) แผนพัฒนาที่อยู่อาศัยฯ มีแนวทางการดำเนินงานที่สอดคล้องและสามารถบูรณาการเข้ากับนโยบายยุทธศาสตร์ของพื้นที่ เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
5) การเคหะแห่งชาติได้รับการยอมรับในบทบาท ภารกิจ และการดำเนินงานเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ ด้านการป้องกัน/แก้ไขปัญหา และพัฒนาที่อยู่อาศัย ชุมชน และเมือง ให้แก่ภาคีที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เป้าหมาย
 
 
 
หลักสูตรวิชาการวางแผนภาคและเมือง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ถนนมิตรภาพ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแ่ก่น โทรศัพท์ : 0 4336 2046 โทรสาร 0 4336 2047